โพชฌงค์ ๗ คือ …

ลองฟังเรื่อง โพชฌงค์ ๗ นี้กันค่ะ
อธิบายไว้ดีมากๆเลย เนื้อหาเข้าใจง่ายด้วย ฟังแล้วประยุกต์ใช้ได้เลย
สามารถดาวโหลดคลิปเสียงนี้ในแบบ mp3 ฟังได้ที่นี่ค่ะ
โพชฌงค์ ๗ (mp3)
โพชฌงค์ ธรรมที่เป็นองค์แห่งการตรัสรู้หรือองค์ของผู้ตรัสรู้มี ๗ อย่าง
คือ ๑. สติ ๒. ธัมมวิจยะ (การสอดส่องเลือกเฟ้นธรรม)
๓. วิริยะ ๔. ปิติ ๕. ปัสสัทธิ ๖. สมาธิ ๗. อุเบกขา
—————–
ดูกรภิกษุทั้งหลาย อานาปานสติ อันภิกษุเจริญแล้ว ทำให้มากแล้ว ย่อมมีผลมาก มีอานิสงส์มาก ภิกษุที่เจริญอานาปานสติแล้ว ทำให้มากแล้ว ย่อมบำเพ็ญสติปัฏฐาน ๔ ให้บริบูรณ์ได้ ภิกษุที่เจริญสติปัฏฐาน ๔ แล้ว ทำให้มากแล้ว ย่อมบำเพ็ญโพชฌงค์ ๗ ให้บริบูรณ์ได้ ภิกษุที่เจริญโพชฌงค์ ๗ แล้ว ทำให้มากแล้ว ย่อมบำเพ็ญวิชชาและวิมุตติให้บริบูรณ์ได้ ฯ

อานาปานสติสูตร
—————–

จากธรรมบรรยายโดย พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตโต)
และเราสามารถศึกษาธรรมะข้อธรรม และความรู้ที่ทรงคุณค่าต่างๆมากมาย
เพิ่มเติมจาก ท่านพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต)
ได้ที่
วัดญาณเวศกวัน

อ่าน และทำความเข้าใจเรื่อง “กรรม”

จริงๆเนื้อหาในหนังสือพุทธธรรมในบทนี้นะ
อยากชวนให้ “อ่านด้วยตัวเอง” มากกว่าค่ะ
เราอ่านจบแล้ว บอกได้เลยว่าเนื้อหาแน่นมาก
เป็นบทที่สุดยอดมากๆบทนึงเลยทีเดียว

เนื้อหาสอดรับกันต้้งแต่เริ่มต้น
ต้องตั้งใจและตั้งสมาธิในการอ่านเลยค่ะ

แล้วจะได้รับสิ่งที่ทรงคุณค่ามากๆ จากเนื้อหาในเรื่องนี้บทนี้

อ่าน pdf ที่นี่นะคะ อยู่ในบทที่ 5 นะ
https://dhammaway.wordpress.com/wp-content/uploads/2013/05/putthathum-extend.pdf

“พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)”
ธรรมนิพนธ์โดย “พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต)”
เพชรน้ำเอกแห่งพระพุทธศาสนา

krama-1-2-3
ส่วนด้านล่างนี้เป็นเวอร์ชั่นเสียง mp3 นะคะ

1 – ความนำ
                 https://dhammaway.wordpress.com/wp-content/uploads/2014/01/05_01.mp3

2 – ความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับกรรม – ก. กรรม ในฐานะกฏธรรมชาติอย่างหนึ่ง
                 https://dhammaway.wordpress.com/wp-content/uploads/2014/01/05_02.mp3

3 – ความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับกรรม – ข. ความหมายของกรรม
                 https://dhammaway.wordpress.com/wp-content/uploads/2014/01/05_03.mp3

4 – ความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับกรรม – ค. ประเภทของกรรม
                 https://dhammaway.wordpress.com/wp-content/uploads/2014/01/05_04.mp3

5 – เกณฑ์ตัดสิน ความดี-ความชั่ว – ก. ปัญหาเกี่ยวกับความดี-ความชั่ว
                 https://dhammaway.wordpress.com/wp-content/uploads/2014/01/05_05.mp3

6 – เกณฑ์ตัดสิน ความดี-ความชั่ว – ข. ความหมายของกุศลและอกุศล
                 https://dhammaway.wordpress.com/wp-content/uploads/2014/01/05_06.mp3

7 – เกณฑ์ตัดสิน ความดี-ความชั่ว – ค. ข้อคววรทราบพิเศษเกี่ยวกับกุศลและอกุศล
                 https://dhammaway.wordpress.com/wp-content/uploads/2014/01/05_07.mp3

8 – เกณฑ์ตัดสิน ความดี-ความชั่ว – ง. เกณฑ์วินิจฉัยกรรมดี-กรรมชั่ว
                 https://dhammaway.wordpress.com/wp-content/uploads/2014/01/05_08.mp3

9 – เกณฑ์ตัดสิน ความดี-ความชั่ว – สิ่งที่สังคมบัญญัติ ไม่เกี่ยวกับกุศล อกุศลโดยตรง
                 https://dhammaway.wordpress.com/wp-content/uploads/2014/01/05_09.mp3

10 – เกณฑ์ตัดสิน ความดี-ความชั่ว – สิ่งที่สังคมบัญญัติ กระทบถึงกุศล อกุศลในกรรมนิยาม
                 https://dhammaway.wordpress.com/wp-content/uploads/2014/01/05_10.mp3

11 – เกณฑ์ตัดสิน ความดี-ความชั่ว – ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายของคำว่าเจตนา
                 https://dhammaway.wordpress.com/wp-content/uploads/2014/01/05_11.mp3

12 – เกณฑ์ตัดสิน ความดี-ความชั่ว – อย่างไรก็ดี เพราะเหตุที่นิยามทั้งสองนั้น…
                 https://dhammaway.wordpress.com/wp-content/uploads/2014/01/05_12.mp3

13 – เกณฑ์ตัดสิน ความดี-ความชั่ว – จ. หลักคำสอนเพื่อเป็นเกณฑ์วินิจฉัย
                 https://dhammaway.wordpress.com/wp-content/uploads/2014/01/05_13.mp3

14 – การให้ผลของกรรม – ก. ผลกรรมในระดับต่างๆ
                 https://dhammaway.wordpress.com/wp-content/uploads/2014/01/05_14.mp3

15 – การให้ผลของกรรม – ข. องค์ประกอบที่ส่งเสริมและขัดขวางการให้ผลของกรรม
                 https://dhammaway.wordpress.com/wp-content/uploads/2014/01/05_15.mp3

16 – การให้ผลของกรรม – ค. ผลกรรมในช่วงกว้างไกล
                 https://dhammaway.wordpress.com/wp-content/uploads/2014/01/05_16.mp3

17 – การให้ผลของกรรม – ง. ข้อพิจารณาเกี่ยวกับการพิสูจน์เรื่องตายแล้วเกิดหรือไม่
                 https://dhammaway.wordpress.com/wp-content/uploads/2014/01/05_17.mp3

18 – การให้ผลของกรรม – จ. ข้อสรุป: การพิสูจน์และท่าทีปฏิบัติต่อเรื่องชาติหน้า
                 https://dhammaway.wordpress.com/wp-content/uploads/2014/01/05_18.mp3

19 – การให้ผลของกรรม – ฉ. ผลกรรมตามนัยแห่งจูฬกรรมวิภังคสูตร
                 https://dhammaway.wordpress.com/wp-content/uploads/2014/01/05_19.mp3

20 – ข้อควรศึกษายิ่งขึ้นไป – ๑) สุขทุกข์ ใครทำให้
                 https://dhammaway.wordpress.com/wp-content/uploads/2014/01/05_20.mp3

21 – ข้อควรศึกษายิ่งขึ้นไป – ๒) เชื่ออย่างไร ผิดหลักกรรม
                 https://dhammaway.wordpress.com/wp-content/uploads/2014/01/05_21.mp3

22 – ข้อควรศึกษายิ่งขึ้นไป – ๓) กรรม ชำระล้างได้อย่างไร
                 https://dhammaway.wordpress.com/wp-content/uploads/2014/01/05_22.mp3

23 – ข้อควรศึกษายิ่งขึ้นไป – ๔) แก้กรรม ด้วยปฏิกรรม
                 https://dhammaway.wordpress.com/wp-content/uploads/2014/01/05_23.mp3

24 – ข้อควรศึกษายิ่งขึ้นไป – ๕) กรรม ที่ทำให้สิ้นกรรม (1)
                 https://dhammaway.wordpress.com/wp-content/uploads/2014/01/05_24.mp3

25 – ข้อควรศึกษายิ่งขึ้นไป – ๕) กรรม ที่ทำให้สิ้นกรรม (2)
                 https://dhammaway.wordpress.com/wp-content/uploads/2014/01/05_25.mp3

26 – ข้อควรศึกษายิ่งขึ้นไป – ๕) กรรม ที่ทำให้สิ้นกรรม (3)
                 https://dhammaway.wordpress.com/wp-content/uploads/2014/01/05_26.mp3

27 – ข้อควรศึกษายิ่งขึ้นไป – ๖) กรรม ในระดับสังคม หรือกรรมของสังคม มีหรือไม่
                 https://dhammaway.wordpress.com/wp-content/uploads/2014/01/05_27.mp3

28 – ข้อควรศึกษายิ่งขึ้นไป – ๗) กรรม ตามสมมตินิยาม หรือ กรรม ในกฎของมนุษย์
                 https://dhammaway.wordpress.com/wp-content/uploads/2014/01/05_28.mp3

29 – ข้อควรศึกษายิ่งขึ้นไป – ๗) กรรม ตามสมมตินิยาม – กฎมนุษย์ (1)
                 https://dhammaway.wordpress.com/wp-content/uploads/2014/01/05_29.mp3

30 – ข้อควรศึกษายิ่งขึ้นไป – ๗) กรรม ตามสมมตินิยาม – กฎมนุษย์ (2)
                 https://dhammaway.wordpress.com/wp-content/uploads/2014/01/05_30.mp3

31 – ข้อควรศึกษายิ่งขึ้นไป – ๘) กรรม กับอนัตตา ขัดกันหรือไม่
                 https://dhammaway.wordpress.com/wp-content/uploads/2014/01/05_31.mp3

32 – ข้อควรศึกษายิ่งขึ้นไป – ๘) กรรม กับอนัตตา ขัดกันหรือไม่ (ต่อ) – สรุป
                 https://dhammaway.wordpress.com/wp-content/uploads/2014/01/05_32.mp3

33 – คุณค่าทางจริยธรรม
                 https://dhammaway.wordpress.com/wp-content/uploads/2014/01/05_33.mp3

34 – บันทึกพิเศษท้ายบท
                 https://dhammaway.wordpress.com/wp-content/uploads/2014/01/05_34.mp3

จากหนังสือ “พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)” เพชรน้ำเอกแห่งพระพุทธศาสนา
หนังสือที่รวบรวมคำสอนในทางพระพุทธศาสนาไว้ได้ครบถ้วนและสมบูรณ์ที่สุดในปัจจุบัน
ธรรมนิพนธ์โดย “พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต)”
https://dhammaway.wordpress.com/wp-content/uploads/2013/05/putthathum-extend.pdf

(mp3) เสียงอ่านหนังสือ เรื่อง “แรงจูงใจ”

inspiration

เป็นเสียงอ่านจากหนังสือ “พุทธธรรม” หนังสือที่ล้ำค่าในพระพุทธศาสนา ธรรมนิพนธ์โดย “พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตโต)”

ให้เสียงอ่านโดย “พระอาจารย์กฤช นิมฺมโล”

ฟังเรื่องนี้แล้วช่วยให้เราเข้าใจตัณหาและฉันทะ ได้มากยิ่งขึ้นจริงๆค่ะ
กิเลส ตัณหา กลไกของชีวิต

1 – ปัญหาเกี่ยวกับแรงจูงใจ

2 – กลไกชีวิตในการกระทำ

3 – แง่ความหมายที่ช่วยให้เข้าใจตัณหา และฉันทะ ชัดยิ่งขึ้น

4 – ความเข้าใจหลักธรรม ตามหลักฐานทางวิชาการ

5 – ฉันทะ อย่างไหนเป็นต้นตอของทุกข์ อย่างไหนคือที่ตั้งต้นของกุศลธรรม

6 – ฉันทะ ถึงจุดลงตัวของความหมายที่ใช้เป็นมาตรฐาน

7 – การศึกษาเชิงเปรียบเทียบ ตัณหา กับฉันทะ

8 – อธิบายเชิงเปรียบเทียบ

9 – ปัญหาจากระบบเงื่อนไขของตัณหา

10 – ผลดีจากระบบตรงไปตรงมาของฉันทะ

11 – สภาพการกิน ภายใต้ครอบงำของระบบเงื่อนไข

12 – การสืบพันธุ์ ระบบธรรมชาติที่แทบเลือนหาย ภายใต้อารยธรรมแห่งกามคุณ

13 – กินด้วยปัญญา พาให้กินพอดี

14 – ข้อพิจารณาเชิงซับซ้อน

15 – เมื่อไม่มีอะไรล่อตัณหา ก็พึ่งพาได้แต่ฉันทะ

16 – คนวนอยู่ที่อยากให้ตัวได้สิ่งที่ปรารถนา พ้นไปจากสิ่งไม่ปรารถนา รักษาความมั่นคงของอัตตาไว้

17 – ฉันทะต่อของ ขยายสู่เมตตาต่อคน

18 – แม้ว่าฉันทะจะขยายไปถึงเมตตากรุณา ตัณหาก็ยังตามไปรังควาน

19 – ทวนความหมาย และกระบวนการเกิดของฉันทะ

20 – ฉันทะอยากชั่ว ตัณหาอยากดี มีหรือไม่

21 – ระวังไว้ ฉันทะมา ตัณหาอาจจะสอด หรือแทรกสลับ

22 – อยากนิพพาน อย่างไรเป็นฉันทะ อย่างไรเป็นตัณหา

23 – ตัณหาให้ละแน่ แต่ฉันทะก็ละอีกแบบหนึ่ง

24 – จะละตัณหา ก็ใช้ตัณหาได้ แต่ไม่วายต้องระวัง

25 – มนุษย์เป็นสัตว์วิเศษ ต้องเพิ่มเดชด้วยฉันทะ มิใช่จะมัวเป็นทาสของตัณหา

26 – ถึงจะพ้นตัณหา ได้ฉันทะมา ก็ยังต้องเดินหน้าไปกับปัญญา จนกว่าจะพ้นปัญหาแท้จริง

27 – ปัญญามาแทนที่ ตัณหาหมดหน้าที่ มีฉันทะเต็มที่

28 – ปัญญาและกรุณา ตัวกำกับและขับเคลื่อนการทำงานของมหาบุรุษ

29 – สรุปข้อควรกำหนดเกี่ยวกับตัณหาและฉันทะ

30 – พัฒนาคนได้ ด้วยการพัฒนาความต้องการของเขา

เป็นเสียงอ่านจากหนังสือ “พุทธธรรม” หนังสือที่เป็นเพชรเม็ดงามแห่งพระพุทธศาสนา
โดย “พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต)”

อ่านหนังสือพุทธธรรม (pdf)

(mp3) เสียงอ่านหนังสือ เรื่อง “ความสุข”

happiness-3

เป็นเสียงอ่านจากหนังสือ “พุทธธรรม”
หนังสือล้ำค่าที่รวบรวมสรรพความรู้และแนวคิดในพระพุทธศาสนาไว้ครบถ้วนมากที่สุด
โดย “พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตโต)”

ให้เสียงอ่านโดย “พระอาจารย์กฤช นิมฺมโล”
เป็นบทที่ว่าด้วยเรื่องของ “ความสุข”

มาลองดูว่า ความสุขที่แท้จริง คืออะไร

1 – ความนำ – พุทธศาสนา คือ ระบบการพัฒนาความสุข
                 https://dhammaway.wordpress.com/wp-content/uploads/2013/06/23-01.mp3

2 – พุทธศนาสอนว่า สุขถึงได้ด้วยสุข
                 https://dhammaway.wordpress.com/wp-content/uploads/2013/06/23-02.mp3

3 – ภาคหลักการ ความสุขคืออะไร
                 https://dhammaway.wordpress.com/wp-content/uploads/2013/06/23_03.mp3

4 – ความต้องการคืออะไร และสำคัญอย่างไร
                 https://dhammaway.wordpress.com/wp-content/uploads/2013/06/23_04.mp3

5 – พอจะได้ใจพองฟูขี้นไปเป็นปิติ ได้สมใจสงบลงมาเป็นความสุข
                 https://dhammaway.wordpress.com/wp-content/uploads/2013/06/23_05.mp3

6 – สองทางสายใหญ่ที่จะเลือกไปสู่ความสุข
                 https://dhammaway.wordpress.com/wp-content/uploads/2013/06/23_06.mp3

7 – ถ้าการศึกษาพัฒนาคนให้มีความสุขด้วยฉันทะได้ จริยธรรมไม่หนีไปไหน
                 https://dhammaway.wordpress.com/wp-content/uploads/2013/06/23_07.mp3

8 – กฏมนุษย์สร้างระบบเงื่อนไข
                 https://dhammaway.wordpress.com/wp-content/uploads/2013/06/23_08.mp3

9 – ถ้าให้ระบบเงื่อนไขหนุนกฎธรรมชาติได้ ก็จะมีผลดีจริง
                 https://dhammaway.wordpress.com/wp-content/uploads/2013/06/23_09.mp3

10 – รู้ทันว่าอยู่ในระบบเงื่อนไข ก็ใช้มันให้เต็มคุณค่า
                 https://dhammaway.wordpress.com/wp-content/uploads/2013/06/23_10.mp3

11 – ความสนุกในการเรียน กับความสุขในการศึกษา
                 https://dhammaway.wordpress.com/wp-content/uploads/2013/06/23_11.mp3

12 – แค่มีความสุขในการเรียนยังไม่พอ ต้องขอให้เรียนแล้วกลายเป็นคนมีความสุข
                 https://dhammaway.wordpress.com/wp-content/uploads/2013/06/23_12.mp3

13 – ความสุขมีมากมาย ธรรมชาติรอบกายก็รอจะให้ความสุข
                 https://dhammaway.wordpress.com/wp-content/uploads/2013/06/23_13.mp3

14 – จะพัฒนาความสุข ต้องพัฒนาความต้องการต่อเพื่อนมนุษย์ด้วย
                 https://dhammaway.wordpress.com/wp-content/uploads/2013/06/23_14.mp3

15 – ความสุขเหนือกาล เมื่อเหนือการสนองความต้องการ
                 https://dhammaway.wordpress.com/wp-content/uploads/2013/06/23_15.mp3

16 – สุขเพราะได้เกาที่คัน กับสุขเพราะไม่มีที่คันจะต้องเกา
                 https://dhammaway.wordpress.com/wp-content/uploads/2013/06/23_16.mp3

17 – การพัฒนาความสุข วัดผลเชิงอุดมคติ
                 https://dhammaway.wordpress.com/wp-content/uploads/2013/06/23_17.mp3

18 – ภาคปฏิบัติการ – ทุกข์มีทุกข์มา อย่าเสียท่าเอาใจรับ
แต่จงเรียกปัญญาให้มาจับเอาทุกข์ไปจัดการ
                 https://dhammaway.wordpress.com/wp-content/uploads/2013/06/23_18.mp3

19 – ทั้งทุกข์และสุข ปฏิบัติให้ถูก มีแต่สุข ทุกข์ไม่มี
                 https://dhammaway.wordpress.com/wp-content/uploads/2013/06/23_19.mp3

20 – ความสุขที่พึงเน้นสำหรับคนทั่วไป เริ่มตั้งแต่ในบ้าน
                 https://dhammaway.wordpress.com/wp-content/uploads/2013/06/23_20.mp3

21 – พัฒนากามสุขที่สุขแย่งกัน ให้มีความสุขที่สุขด้วยกัน
                 https://dhammaway.wordpress.com/wp-content/uploads/2013/06/23_21.mp3

22 – ชีวิตจะวัฒนา ถ้าได้ปราโมทย์มาเป็นพื้นใจ
                 https://dhammaway.wordpress.com/wp-content/uploads/2013/06/23_22.mp3

23 – สังคมจะมีสันติสุขได้ คนต้องรู้จักความสุขจากการให้
                 https://dhammaway.wordpress.com/wp-content/uploads/2013/06/23_23.mp3

24 – ไม่เฉพาะสังคม แม้ในสังฆะ พระก็ถือหลักแบ่งปันลาภ
                 https://dhammaway.wordpress.com/wp-content/uploads/2013/06/23_24.mp3

25 – ให้ความดีงามในจิตใจบุคคล ออกมาเป็นปฏิบัติการเกื้อสังคม
                 https://dhammaway.wordpress.com/wp-content/uploads/2013/06/23_25.mp3

26 – บุคคลเอื้ออารี สังคมสามัคคี ทุกคนได้ ทุกคนดี มีสุขด้วยกันและทั่วกัน
                 https://dhammaway.wordpress.com/wp-content/uploads/2013/06/23_26.mp3

27 – คนมีปัญญา แม้แต่ทุกข์ ก็เห็นคุณค่า และใช้ประโยชน์ได้
                 https://dhammaway.wordpress.com/wp-content/uploads/2013/06/23_27.mp3

28 – ความสุขมีคุณมาก โทษก็หนัก ต้องรู้จักใช้
                 https://dhammaway.wordpress.com/wp-content/uploads/2013/06/23_28.mp3

29 – ของเสพเต็มไปหมด สุขกลับลด ทุกข์ก็ง่าย
                 https://dhammaway.wordpress.com/wp-content/uploads/2013/06/23_29.mp3

30 – จะสุขง่าย ทุกข์ได้ยาก หากฝึกไว้
                 https://dhammaway.wordpress.com/wp-content/uploads/2013/06/23_30.mp3

31 – บทลงท้าย-ความสุขที่สมบูรณ์ ดูอย่างไร
                 https://dhammaway.wordpress.com/wp-content/uploads/2013/06/23_31.mp3

32 – เมื่อสุขของบุคคล คือสุขเพื่อมวลชนทั้งโลก
                 https://dhammaway.wordpress.com/wp-content/uploads/2013/06/23_32.mp3

เป็นเสียงอ่านจากหนังสือ “พุทธธรรม”
โดยผู้เขียน “พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต)”
ผู้เป็นดั่งเพชรน้ำเอกแห่งพระพุทธศาสนา

สามารถดาวโหลดหนังสือ “พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)” ได้ที่นี่ค่ะ
https://dhammaway.wordpress.com/wp-content/uploads/2013/05/putthathum-extend.pdf

(mp3) เสียงอ่านหนังสือ เรื่อง “โสดาบัน”

cover-1-2

ฟังเสียงอ่านจากหนังสือ
“พุทธธรรม” (ฉบับปรับขยาย)
เรื่อง “โสดาบัน”

หนังสือเล่มที่ล้ำค่ามากๆในพระพุทธศาสนา
“พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตโต)”
เป็นบทที่ว่าด้วยเรื่องของความเป็นพระโสดาบัน ความเป็นผู้เที่ยงต่อกระแสพระนิพพาน ผู้ที่เป็นพระโสดาบันนั้นเป็นอย่างไร ให้เสียงอ่านโดย “พระอาจารย์กฤช นิมฺมโล”
1 – ชีวิตและคุณธรรมพื้นฐานของอารยชน

2.1 – คุณสมบัติโสดาบัน 1

2.2 – คุณสมบัติโสดาบัน 2 – ละหรือมีก็เช่นกัน

2.3 – คุณสมบัติโสดาบัน 3 – สะพานสู่นิพพาน

3 – บุคคลโสดาบัน – ตามนัยพุทธพจน์

4.1 – โสตาปัตติยังคะ – ก.ลักษณะ – ข.คุณสมบัติทั่วไป

4.2 – โสตาปัตติยังคะ – ค.คุณสมบัติในแง่ละได้ของโสดาบัน

4.3 – โสตาปัตติยังคะ – ง.ก่อนเป็นโสดาบัน

5.1 – คุณสมบัติหลักของบุคคลโสดาบัน – ศรัทธา

5.2 – คุณสมบัติหลักของบุคคลโสดาบัน – ศีล

5.3 – คุณสมบัติหลักของบุคคลโสดาบัน-สุตะ

5.4 – คุณสมบัติหลักของบุคคลโสดาบัน – จาคะ

5.5 – คุณสมบัติหลักของบุคคลโสดาบัน -ปัญญา

6 – สรุปคุณสมบัติหลักของบุคคลโสดาบัน

7 – คุณสมบัติเด่น2ข้อของบุคคลโสดาบัน

8 – บันทึกพิเศษท้ายบท

เป็นเสียงอ่านจากหนังสือ “พุทธธรรม” หนังสือที่เป็นเพชรเม็ดงามแห่งพระพุทธศาสนา
“พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต)”
อ่านหนังสือพุทธธรรม pdf

(เสียงmp3) อิทธิฤทธิ์ ปาฏิหาริย์ เทพเทวดา

landscape-1-text-4

เป็นเสียงอ่านจากหนังสือ “พุทธธรรม” หนังสือที่เป็นเพชรน้ำเอกแห่งพระพุทธศาสนาโลก
โดยผู้เขียน “พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตโต)”

ให้เสียงอ่านโดย “พระอาจารย์กฤช นิมฺมโล”
ที่หลายท่านรู้จักกันเป็นอย่างดีว่าเสียงท่านนุ่ม น่าฟังขนาดไหน

หากท่านใดสนใจเรื่องเหล่านี้ ลองมาโหลดแล้วฟังคลิปเสียงเหล่านี้ดูค่ะ ได้รายละเอียดเนื้อหา เติมเต็มความรู้ และความสงสัยใคร่รู้ได้เต็มที่เลย

1.0 – เรื่องเหนือสามัญวิสัย

1.1 – อิทธิปาฏิหริย์

1.2 – ปาฏิหาริย์ ไม่ใช่แค่ฤทธิ์ แต่มีถึง 3 อย่าง

1.3 – อิทธิปาฏิหาริย์ ไม่ใช่ธรรมที่เป็นแก่นสาร

1.4 – อิทธิฤทธิ์ ชนิดอริยะและชนิดอนารยะ

1.5 – โทษแก่ปุถุชน ในการเกี่ยวข้องกับเรื่องฤทธิ์

1.6 – แนวปฏิบัติที่ถูกต้อง ในการเข้าไปเกี่ยวข้องกับเรื่องฤทธิ์

2.1 – เทวดา

2.2 – มนุษย์กับเทวดา ความสัมพันธ์ใดที่ล้าสมัย

2.3 – หวังพึ่งเทวดา ได้ผลนิดหน่อย แต่เกิดโทษมากมาย

2.4 – สร้างความสัมพันธ์ที่ถูกต้อง ระหว่างมนุษย์กับเทวดา

2.5 – ความสัมพันธ์แบบชาวพุทธ ระหว่างมนุษย์กับเทวดา

3.0 – สรุปวิธีปฏิบัติต่อเรื่องเหนือสามัญวิสัย

3.2 – ก้าวสู่ขึ้นมีชิวิตอิสระ เพื่อจะเป็นชาวพุทธที่แท้

3.3 – วิธิปฏิบัติที่ถูกต้อง ต่อสิ่งเหนือสามัญวิสัย

3.4 – ปฏิบัติถูกต้องคือเดินหน้า

4.1 – บันทึกพิเศษท้ายบท

4.2 – การช่วยและการแกล้งของพระอินทร์

4.3 – สัจะกิริยาทางออกที่ดี สำหรับผู้ยังหวังอำนาจ ดลบันดาน

4.4 – พระพุทธ เป็นมนุษย์หรือเทวดา

5.1 – ภาคผนวก-ประเด็น1-สรุปหลักการสำคัญของพุทธศาสนา

5.2 – เหตุใดพระพุทธเจ้าทรงรังเกียจอิทธิปาฏิหาริย์

5.3 – พระสมัยการก็ให้วัตถุมงคล-พระสมัยนี้ก็ให้-สรุปแล้วคนไทยนับถือพุทธหรือไสยศาสตร์

5.4 – การนับถืออำนาจดลบันดานภายนอก-ต่างจากพุทธ

เป็นเสียงอ่านจากหนังสือ “พุทธธรรม” หนังสือที่เป็นเพชรน้ำเอกแห่งพระพุทธศาสนาโลก
“พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต)”
อ่านหนังสือ พุทธธรรม