อ่าน และทำความเข้าใจเรื่อง “กรรม”

จริงๆเนื้อหาในหนังสือพุทธธรรมในบทนี้นะ
อยากชวนให้ “อ่านด้วยตัวเอง” มากกว่าค่ะ
เราอ่านจบแล้ว บอกได้เลยว่าเนื้อหาแน่นมาก
เป็นบทที่สุดยอดมากๆบทนึงเลยทีเดียว

เนื้อหาสอดรับกันต้้งแต่เริ่มต้น
ต้องตั้งใจและตั้งสมาธิในการอ่านเลยค่ะ

แล้วจะได้รับสิ่งที่ทรงคุณค่ามากๆ จากเนื้อหาในเรื่องนี้บทนี้

อ่าน pdf ที่นี่นะคะ อยู่ในบทที่ 5 นะ
https://dhammaway.files.wordpress.com/2013/05/putthathum-extend.pdf

“พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)”
ธรรมนิพนธ์โดย “พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต)”
เพชรน้ำเอกแห่งพระพุทธศาสนา

krama-1-2-3
ส่วนด้านล่างนี้เป็นเวอร์ชั่นเสียง mp3 นะคะ

1 – ความนำ
                 https://dhammaway.files.wordpress.com/2014/01/05_01.mp3

2 – ความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับกรรม – ก. กรรม ในฐานะกฏธรรมชาติอย่างหนึ่ง
                 https://dhammaway.files.wordpress.com/2014/01/05_02.mp3

3 – ความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับกรรม – ข. ความหมายของกรรม
                 https://dhammaway.files.wordpress.com/2014/01/05_03.mp3

4 – ความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับกรรม – ค. ประเภทของกรรม
                 https://dhammaway.files.wordpress.com/2014/01/05_04.mp3

5 – เกณฑ์ตัดสิน ความดี-ความชั่ว – ก. ปัญหาเกี่ยวกับความดี-ความชั่ว
                 https://dhammaway.files.wordpress.com/2014/01/05_05.mp3

6 – เกณฑ์ตัดสิน ความดี-ความชั่ว – ข. ความหมายของกุศลและอกุศล
                 https://dhammaway.files.wordpress.com/2014/01/05_06.mp3

7 – เกณฑ์ตัดสิน ความดี-ความชั่ว – ค. ข้อคววรทราบพิเศษเกี่ยวกับกุศลและอกุศล
                 https://dhammaway.files.wordpress.com/2014/01/05_07.mp3

8 – เกณฑ์ตัดสิน ความดี-ความชั่ว – ง. เกณฑ์วินิจฉัยกรรมดี-กรรมชั่ว
                 https://dhammaway.files.wordpress.com/2014/01/05_08.mp3

9 – เกณฑ์ตัดสิน ความดี-ความชั่ว – สิ่งที่สังคมบัญญัติ ไม่เกี่ยวกับกุศล อกุศลโดยตรง
                 https://dhammaway.files.wordpress.com/2014/01/05_09.mp3

10 – เกณฑ์ตัดสิน ความดี-ความชั่ว – สิ่งที่สังคมบัญญัติ กระทบถึงกุศล อกุศลในกรรมนิยาม
                 https://dhammaway.files.wordpress.com/2014/01/05_10.mp3

11 – เกณฑ์ตัดสิน ความดี-ความชั่ว – ความเข้าใจเกี่ยวกับความหมายของคำว่าเจตนา
                 https://dhammaway.files.wordpress.com/2014/01/05_11.mp3

12 – เกณฑ์ตัดสิน ความดี-ความชั่ว – อย่างไรก็ดี เพราะเหตุที่นิยามทั้งสองนั้น…
                 https://dhammaway.files.wordpress.com/2014/01/05_12.mp3

13 – เกณฑ์ตัดสิน ความดี-ความชั่ว – จ. หลักคำสอนเพื่อเป็นเกณฑ์วินิจฉัย
                 https://dhammaway.files.wordpress.com/2014/01/05_13.mp3

14 – การให้ผลของกรรม – ก. ผลกรรมในระดับต่างๆ
                 https://dhammaway.files.wordpress.com/2014/01/05_14.mp3

15 – การให้ผลของกรรม – ข. องค์ประกอบที่ส่งเสริมและขัดขวางการให้ผลของกรรม
                 https://dhammaway.files.wordpress.com/2014/01/05_15.mp3

16 – การให้ผลของกรรม – ค. ผลกรรมในช่วงกว้างไกล
                 https://dhammaway.files.wordpress.com/2014/01/05_16.mp3

17 – การให้ผลของกรรม – ง. ข้อพิจารณาเกี่ยวกับการพิสูจน์เรื่องตายแล้วเกิดหรือไม่
                 https://dhammaway.files.wordpress.com/2014/01/05_17.mp3

18 – การให้ผลของกรรม – จ. ข้อสรุป: การพิสูจน์และท่าทีปฏิบัติต่อเรื่องชาติหน้า
                 https://dhammaway.files.wordpress.com/2014/01/05_18.mp3

19 – การให้ผลของกรรม – ฉ. ผลกรรมตามนัยแห่งจูฬกรรมวิภังคสูตร
                 https://dhammaway.files.wordpress.com/2014/01/05_19.mp3

20 – ข้อควรศึกษายิ่งขึ้นไป – ๑) สุขทุกข์ ใครทำให้
                 https://dhammaway.files.wordpress.com/2014/01/05_20.mp3

21 – ข้อควรศึกษายิ่งขึ้นไป – ๒) เชื่ออย่างไร ผิดหลักกรรม
                 https://dhammaway.files.wordpress.com/2014/01/05_21.mp3

22 – ข้อควรศึกษายิ่งขึ้นไป – ๓) กรรม ชำระล้างได้อย่างไร
                 https://dhammaway.files.wordpress.com/2014/01/05_22.mp3

23 – ข้อควรศึกษายิ่งขึ้นไป – ๔) แก้กรรม ด้วยปฏิกรรม
                 https://dhammaway.files.wordpress.com/2014/01/05_23.mp3

24 – ข้อควรศึกษายิ่งขึ้นไป – ๕) กรรม ที่ทำให้สิ้นกรรม (1)
                 https://dhammaway.files.wordpress.com/2014/01/05_24.mp3

25 – ข้อควรศึกษายิ่งขึ้นไป – ๕) กรรม ที่ทำให้สิ้นกรรม (2)
                 https://dhammaway.files.wordpress.com/2014/01/05_25.mp3

26 – ข้อควรศึกษายิ่งขึ้นไป – ๕) กรรม ที่ทำให้สิ้นกรรม (3)
                 https://dhammaway.files.wordpress.com/2014/01/05_26.mp3

27 – ข้อควรศึกษายิ่งขึ้นไป – ๖) กรรม ในระดับสังคม หรือกรรมของสังคม มีหรือไม่
                 https://dhammaway.files.wordpress.com/2014/01/05_27.mp3

28 – ข้อควรศึกษายิ่งขึ้นไป – ๗) กรรม ตามสมมตินิยาม หรือ กรรม ในกฎของมนุษย์
                 https://dhammaway.files.wordpress.com/2014/01/05_28.mp3

29 – ข้อควรศึกษายิ่งขึ้นไป – ๗) กรรม ตามสมมตินิยาม – กฎมนุษย์ (1)
                 https://dhammaway.files.wordpress.com/2014/01/05_29.mp3

30 – ข้อควรศึกษายิ่งขึ้นไป – ๗) กรรม ตามสมมตินิยาม – กฎมนุษย์ (2)
                 https://dhammaway.files.wordpress.com/2014/01/05_30.mp3

31 – ข้อควรศึกษายิ่งขึ้นไป – ๘) กรรม กับอนัตตา ขัดกันหรือไม่
                 https://dhammaway.files.wordpress.com/2014/01/05_31.mp3

32 – ข้อควรศึกษายิ่งขึ้นไป – ๘) กรรม กับอนัตตา ขัดกันหรือไม่ (ต่อ) – สรุป
                 https://dhammaway.files.wordpress.com/2014/01/05_32.mp3

33 – คุณค่าทางจริยธรรม
                 https://dhammaway.files.wordpress.com/2014/01/05_33.mp3

34 – บันทึกพิเศษท้ายบท
                 https://dhammaway.files.wordpress.com/2014/01/05_34.mp3

จากหนังสือ “พุทธธรรม (ฉบับปรับขยาย)” เพชรน้ำเอกแห่งพระพุทธศาสนา
หนังสือที่รวบรวมคำสอนในทางพระพุทธศาสนาไว้ได้ครบถ้วนและสมบูรณ์ที่สุดในปัจจุบัน
ธรรมนิพนธ์โดย “พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต)”
https://dhammaway.files.wordpress.com/2013/05/putthathum-extend.pdf